โครงสร้างหลักสูตร ช่วงชั้นที่ 3 |
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชา ว 31101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา
ว 32101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา
ว 33101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชา
ว 31201 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
(เทคโนโลยีกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา
ว 32201 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
(
สารเสริมแต่ง - ถนอมอาหาร พันธุกรรมและวิวัฒนาการ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา
ว 33201 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
(เครื่องกล
แรง และพลังงานหมุนเวียน)
รายวิชา
ว 30204 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ปี
(โครงงานวิทยาศาสตร์)
โครงสร้างหลักสูตร ช่วงชั้นที่ 4แผนวิทย์ - คณิต |
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชา ว 41101
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ฟิสิกส์ ) 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 41102
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (เคมี) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 41103
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ภาคเรียนที่ 2
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
รายวิชา ว 41104
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ )2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
รายวิชา ว 40201
ฟิสิกส์ 1 (กลศาสตร์ 1) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40221
เคมี 1(โครงสร้างและสมบัติของสาร) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40241
ชีววิทยา 1 (ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชา ว 40202
ฟิสิกส์ 2 (กลศาสตร์ 2 ) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40222
เคมี 2 (สถานะของสารและปริมาณสัมพันธ์) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40242
ชีววิทยา 2 (การรักษาดุลยภาพ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์
/ ภาค
รายวิชา ว 40244
ชีววิทยา 4 ( การดำรงชีวิตของพืช) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชา
ว 40203 ฟิสิกส์ 3 (ของไหล ความร้อน) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา
ว 40223 เคมี 3 (อัตราการเกิดปฏิกิริยาและสมดุลเคมี) 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา
ว 40245 ชีววิทยา 5 (พันธุศาสตร์และความหลากหลาย) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชา ว 40204
ฟิสิกส์ 4 (แสง เสียง คลื่นแม่เหล็กฯ) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40205
ฟิสิกส์ 5 (ไฟฟ้า แม่เหล็ก) 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40224
เคมี 4 (ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีและอุตสาหกรรม) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40246
ชีววิทยา 6 (ระบบนิเวศ) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชา ว 40206 ฟิสิกส์
6 (อิเลคทรอนิกส์ ฟิสิกส์อะตอมและฟิสิกส์นิวเคลียร์) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40225
เคมี 5(เคมีกับชีวิต) 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40243
ชีววิทยา 3 (การประสานในร่างกาย และการสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์) 3 ชั่วโมง
/ สัปดาห์ / ภาค
โครงสร้างหลักสูตร
ช่วงชั้นที่ 4 แผนภาษา - คณิต |
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชา ว 41101
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ฟิสิกส์ ) 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 41102
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (เคมี) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 41103
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชา ว 41104 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
(โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ) 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
รายวิชา ว 40226 อาหารท้องถิ่น
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40247 ระบบนิเวศท้องถิ่น
3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40248 ร่างกายมนุษย์
3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40261 วิทยาศาสตร์กายภาพ
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชาที่เปิดเพิ่ม ได้แก่
รายวิชา ว 42101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลก
ดาราศาสตร์ และ อวกาศ )1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
รายวิชา ว 40202
ฟิสิกส์ 2 (กลศาสตร์ 2 ) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาค
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
รายวิชา ว 40206
ฟิสิกส์ 6 (อิเลคทรอนิกส์ ฟิสิกส์อะตอม และฟิสิกส์นิวเคลียร์) 3 ชั่วโมง / สัปดาห์
/ ภาค
หมายเหตุ รายวิชาที่เปิดเพิ่ม
เพื่อให้ใกล้เคียงกับโครงสร้างหลักสูตรของ สสวท. มากขึ้น
โดยยังไม่ได้เปิดวิชาเพิ่มเติมอีก
1 วิชา คือ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
แต่ได้เปิดสอนในวิชาพื้นฐาน
2 ชั่วโมง/ สัปดาห์ หากเพิ่มเวลาเป็น 3 ชั่วโมงจะดีมาก
คณะผู้จัดทำ |
1.
นายพิทยา รักพรหม ที่ปรึกษา |
โรงเรียนวารินชำราบ
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม นำความรู้ และเทคโนโลยีทางการศึกษา สู่ความพอเพียง ให้ได้มาตรฐานการศึกษาของชาติ สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข |
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มุ่งมั่นจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ให้ผู้เรียน รู้คิด รู้แก้ปัญหา และรู้พัฒนา |